5 SIMPLE STATEMENTS ABOUT ภาระหนี้ของภาคครัวเรือน EXPLAINED

5 Simple Statements About ภาระหนี้ของภาคครัวเรือน Explained

5 Simple Statements About ภาระหนี้ของภาคครัวเรือน Explained

Blog Article

ถอดรหัส 'นายกฯ อิ๊งค์' ‘ประสานพลัง’ ดันเรือธงเพื่อไทย

อัตราดอกเบี้ยประจำวันของธนาคารพาณิชย์ เงินสำรองระหว่างประเทศ (รายสัปดาห์) เงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนจำแนกตามวัตถุประสงค์ บริการจาก ธปท. กลับ

แผนภูมิข้อมูลเศรษฐกิจที่สะท้อนถึงภาวะเศรษฐกิจมหภาคและภาคการเงินของไทย

วันหยุดตามประเพณีของสถาบันการเงินและสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

ในระดับมหภาค เมื่อครัวเรือนส่วนใหญ่มีหนี้ในระดับสูง ไม่สามารถดูแลตัวเองและครอบครัวได้เมื่อเข้าสู่วัยชรา หรือเมื่อประสบกับเหตุการณ์ต่างๆ ที่มากระทบกับครอบครัว จะส่งผลให้รัฐบาลมีภาระต้องดูแลและช่วยเหลือเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการเพิ่มสวัสดิการภาครัฐที่อาจจะสร้างปัญหาเรื่องความมั่นคงทางการคลังของประเทศในระยะยาวได้ หนี้ครัวเรือนในระดับสูงยังมีผลฉุดรั้งการขยายตัวของการบริโภคและการขยายตัวของเศรษฐกิจในระยะยาว และมีผลต่อความสามารถในการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ส่งผลให้ประสิทธิผลของมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจลดลงเพราะครัวเรือนไทยต้องนำรายได้ส่วนหนึ่งไปชำระหนี้แทนที่จะนำมาใช้จ่ายหมุนเวียนเพื่อให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่อไป ถ้าเราไม่สามารถควบคุมหนี้ครัวเรือนให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมแล้ว จะส่งผลให้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในระบบเศรษฐกิจสังคมไทยรุนแรงขึ้นด้วย เพราะครัวเรือนที่มีหนี้สูงส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำถึงปานกลาง ฐานะการเงินและความมั่นคงในชีวิตของคนกลุ่มนี้จึงอ่อนไหวกว่าคนกลุ่มที่มีรายได้ปานกลางถึงรายได้สูง เราทราบกันดีว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังฉุดรั้งและสร้างความเปราะบางในสังคมไทย

บทความ “ทางออกจากกับดักหนี้ครัวเรือน” โดย ดร.

ทั้งนี้ ธปท. จะเร่งผลักดันการแก้ไขปัญหาหนี้อย่างยั่งยืนตามแนวทางที่วางไว้ ผ่านกระบวนการรับฟังความเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ภาระหนี้ของภาคครัวเรือน เพื่อให้บังคับใช้ได้จริงเหมาะสมกับปัญหาของลูกหนี้แต่ละกลุ่ม สอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจการเงิน และสามารถดูแลหนี้ครัวเรือนให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้ภาคครัวเรือนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ลดความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจและเสถียรภาพการเงินในระยะยาว และภาคการเงินมีพื้นฐานที่แข็งแกร่ง พร้อมรองรับการพัฒนาด้านดิจิทัลและการปรับตัวไปสู่ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมได้ 

เข้าไปมีส่วนร่วมในการผลักดันให้สามารถดำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายดังกล่าว

ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน ตลาดการเงิน

ด้วยความรุนแรงของปัญหาหนี้ครัวเรือนที่มีอยู่ขณะนี้ และความเปราะบางทางการเงินของครัวเรือนไทยที่มีแนวโน้มเปราะบางมากขึ้นเมื่อสังคมไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ ประเทศไทยควรมีหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักและทำงานได้ต่อเนื่องเพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการเงินให้แก่คนไทยทุกช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็กในโรงเรียน วัยทำงาน ไปจนถึงวัยเกษียณอายุ เพราะทักษะการบริหารจัดการเงินแตกต่างกันมากแต่ละช่วงเวลาของชีวิต หน่วยงานนี้จะต้องทำงานเชิงรุกเพื่อให้คนไทยในวงกว้างมีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการเงินได้ดี จะต้องมีทรัพยากรเพียงพอ และทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่นที่จะนำองค์ความรู้และวิธีการพัฒนาทักษะด้านนี้ไปดำเนินการอย่างจริงจัง โดยอาจจะเริ่มจากกลุ่มลูกหนี้ในจังหวัดเมืองใหญ่ และลูกหนี้ในเขตอำเภอเมืองก่อน ตามลักษณะการกระจุกตัวของลูกหนี้

เช่น รายงานผลการดำเนินงานประจำปี รายงานด้านนโยบายการเงิน เป็นต้น

บริหารจัดการให้ระบบเศรษฐกิจมีธนบัตรสภาพดีหมุนเวียนใช้อย่างเพียงพอ ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนทั้งในแง่ของปริมาณ ชนิดราคาและคุณภาพ ที่ยากต่อการปลอมแปลง

ผู้ว่า ธปท.ชี้ “คนไทยติดกับดักหนี้” วัฒนธรรม “สินเชื่อเงินทอน” เฟื่องฟู ระบุธุรกิจละเลยการกำกับที่ดี- มองข้ามความยั่งยืน

รายงานโดย มนัสชัย จึงตระกูล,ศรันยา อิรนพไพบูลย์,วัชรพงศ์ รัชตเวชกุล,อนุสรา อนุวงค์ สำนักเศรษฐกิจภูมิภาค ธนาคารแห่งประเทศไทย

Report this page